เนื้อหา

เนื้อหาต่อมไร้ท่อต่ำแหน่งต่างๆ
- วันเสาร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland)



เป็นต่อมที่ทำหน้าที่ลิตฮอร์โมนมากที่สุด และยังทำหน้าที่ในการ
ควบคุมการทำงานของต่อมไร้ท่ออื่นๆ


อยู่ในแอ่งของกระดูก sphenoid


ความสัมพันธ์ hypothalamus กับต่อมใต้สมอง


ฐานของไฮโปธาลามัสมีก้านยื่น โดยที่ปลายก้านยื่นคือต่อมใต้สมอง
  • ไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมองส่วนหลัง มีการเชื่อมต่อกันโดยระบบประสาท

  • ไฮโปธาลามัสหลั่ง releasing hormone สู่ต่อมใต้สมองส่วนหน้าทางหลอดเลือดดา


ฮอร์โมนที่สังเคราะห์และหลั่ง จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary)


มี 6 ชนิดได้แก่



1.Growth hormone (GH) หรือ Somatotrophin (STH) 
2.Prolactin 
3.Follicle stimulating hormone (FSH) 
  • กระตุ้นต่อมเพศ (รังไข่ และ อัณฑะ)
4.Lutenizing hormone (LH) 
  • กระตุ้นต่อมเพศ (รังไข่ และ อัณฑะ)
5.Thyroid stimulating hormone (TSH) 
  • กระตุ้นต่อมไทรอยด์
6.Adrenocorticotropic hormone (ACTH) 
  •  กระตุ้นต่อมหมวกไตชั้นนอก






ฮอร์โมนที่สังเคราะห์และหลั่ง จากต่อมใต้สมองส่วนหลัง (posterior pituitary)

 มี 2 ชนิด ได้แก่

1.วาโซเพรสซิน (vasopressin) หรือ แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน (antidiuretic hormone) เป็นเปปไทด์ฮอร์โมน ที่ได้ชื่อเช่นนี้เพราะเป็นฮอร์โมนที่ทำให้เส้นเลือดหดรัดตัว และลดการหลั่งปัสสาวะเรียกชื่อย่อว่า ADH
2.ออกซิโทซิน (oxytocin) 
  • กระตุ้นการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อเรียบของมดลูกของหญิงมีครรภ์ ในการคลอดบุตร ในระยะใกล้คลอด
กระตุ้นการหลั่งน้ำนม (milk ejection)




Pituitary gland : สภาวะผิดปกติ


ขาด GH ในเด็ก epiphyseal plate ปิดเร็วกว่าปกติ >> แคระแกรน





GH ขาดในผู้ใหญ่ >> cachexia ผิวหนังเหี่ยวย่น ผอมแห้ง แก่กว่าวัย





GH มากในเด็ก --> gigantism กระดูกยาวผิดปกติ




GH มากในผู้ใหญ่ --> ระดับของโกรทฮอร์โมน จะลดต่าลงเมื่ออายุมากขึ้น ในวัยผู้ใหญ่ หากหลั่งมากเกิน จะทาให้เป็นโรคอะโคร เมกาลี (acromegaly) ส่วนที่เป็นกระดูกตาม แขน ขา คาง กระดูกขากรรไกร และกระดูกแก้มยังตอบสนองต่อฮอร์โมนนี้อยู่ทาให้เกิดความผิดปกติของกระดูกตามบริเวณใบหน้า นิ้วมือ นิ้วเท้า เรียกอาการดังกล่าวนี้ว่า acromegaly






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ขอบคุณสำหรับการเข้าชม